Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1170
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระภาวนาพิศาลเมธี วิ. (ประเสริฐ มนฺตเสวี)-
dc.date.accessioned2023-10-16T03:04:24Z-
dc.date.available2023-10-16T03:04:24Z-
dc.date.issued2020-06-03-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1170-
dc.description.abstractเปาหมายของพระพุทธศาสนาคือพระนิพพาน อันเป็นสภาวะที่พันจากสังขารขันธ์ และทุกข์ ทั้งปวงซึ่งจะสำเร็จผลได้ตัวยวิปัสฒนาภาวนา หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ลาขาวิชาวิปัสสนา ภาวนา เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตให้เป็นผู้มีปฏิปทาน่าเลื่อมใส ใฝรู้ ใฝ่คิด เป็น ผู้นำด้านจิตใจและปัญญา มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา และบริการด้านวิชาการแก่สังคม มีความรู้ความเข้าใจในหลักการปฏิบัติวิปัสสนาที่จะนำพาตนเอง และสรรพสัตว์ให้ก้าวถ่วงความทุกข์ทั้งปวง พร้อมทั้งสามารถสอนธรรมนำปฏิบัติวิปัสสนาได้อย่างถูกต้อง การปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา ๗ เดือน เป็นหลักสูตรบังดับของการศึกษา เพื่อให้ผู้ศึกษา มีความเชี่ยวชาญในการเจริญวิปัสลนาภาวนา มีความรู้ที่ถูกต้องทั้งภาคทฤษฎีในพระไตรปิฎก ธรรถกตา ฎีกา และภาคปฏิบัติที่มีความสอดคล้องกัน คือ เมื่อปฏิบัติ จนรู้แจ้งตัวยตนเองแล้วก็สามารถ สอนผู้อื่นให้รู้อย่างที่ตนรู้ได้ด้วย เพระการปฏิบัติวิปสนานั้นมีไช่ว่าปฏิบัติจบแล้ว จะสอนผู้อื่นให้รู้อย่าง ที่ตนรู้ได้ การปฏิบัติวิปสลนาให้บรรถผลได้นั้นผู้ปฏิบัติจะต้องมีอินทรีย์ที่แก่กลัาและสมดุลกันอย่าง เต็มที่ การปฏิบัติวิปัสตนาจึงมีใช่เพียงแค่เดินจงกรมนั่งสมาธิเท่านั้น อาจารย์ผู้สอนต้องคอยสั่งสอน แนะแนววิธีปฏิบัติในแต่ละช่วงญาณควบดูกันไปด้วย เพราะวิธีปฏิบัติในแต่ละญาณนั้นไม่ เหมือนกัน คือมีรายละเอียดปลีกย่อยและเทดนิดในการปฏิบัติที่แตกต่างกัน เช่น ญาณที่ ๔-๔ ต้องกำหนดอย่าง จดจ่อต่อเนื่อง และเฟงสติต่ออารมณ์ จึงจะเห็นอาการเกิดดับชัดเจน แต่พอถึงญาณที่ ๑๐-๑๑ ให้กำหนดเพียงรู้อาการที่ปรากฏอย่างต่อเนื่อง ไม่ต้องเพ่งอารมณ์มากนัก เพราะอารมณ์ที่กำหนดจะ ไม่ชัด ทำให้เผลอสติหลุดกำหนดได้ง่าย พอญาณที่ ๑1 เริ่มแก่กล้าขึ้นต้องการให้วิปัสสนาญาณ เดินหน้าอย่างเต็มกำลัง่ เพื่อให้ทะลุเข้าสู่มรรดผลให้ได้ ก็ต้องเพิ่มกำลังอินทรีย์ ในการกำหนด ด้วยการกำหนดอย่างถี่ๆ ไม่ให้ขาดระยะ ไม่ให้เผลอ ตั้งแต่ตื่นนอนจนเข้านอน เป็นตัน บางช่วงผู้ปฏิบัติศรัทธาตก เกิดความเบื่อหนายต่อการปฏิบัติ อาจารย์ผู้สอนก็ต้องหา บทเทศนาที่ตมารถทำให้ผู้ปฏิบัติฟังแล้วเกิดศรัทธาให้ได้ มาเทศน์สั่งสอน บางญาณผู้ปฏิบัติเกิดปีติ ปราโมทย์มากจนเข้าใจผิดว่าได้บรรลุมรรดผลแล้ว อาจารย์ผู้สอนก็ต้องนำบทเทตนาที่ให้เกิดความ สลดมาเทศนาสั่งสอน บางช่วงเกิดความท้อแท้อยากเลิกปฏิบัติ อาจารย์ผู้สอนก็ต้องเทศนาให้ เกิดกำลังใจ ฉะนั้น ผู้ที่คิดจะเป็นอาจารย์สอนวิปัสตนาให้ถึงขั้นบรรลุมรรดผลได้นั้น เพียงเก่งใน การปฏิบัติในเรื่องสภาวญาณอย่างเดียวยังไม่พอ จะต้องมีความรอบรู้ในหลักปริษัติควบดูไปด้วย มีความสามารถเทศนาสั่งสอนได้ทุกวัน ต้องมีไหวพริบปฏิกาณามารถ แกัปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นen_US
dc.subjectสัมมนาวิปัสสนาภาวนาen_US
dc.subjectภาวนาen_US
dc.subjectวิปัสสนาภาวนาen_US
dc.subjectสัมมนาen_US
dc.titleสัมมนาวิปัสสนาภาวนา (Seminar on Vipassanabhavana)en_US
dc.typeBooken_US
Appears in Collections:เอกสารประกอบการสอน (Teaching Publications)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
05 วิชา-สัมมนาวิปัสสนา-๒๕๖๓.pdf9.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.