Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1166
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาปราโมทย์, วิริยธมฺโม, ผศ.ดร.-
dc.date.accessioned2023-07-17T14:29:12Z-
dc.date.available2023-07-17T14:29:12Z-
dc.date.issued2023-06-08-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1166-
dc.description.abstractภาษาสันสกฤตเป็นภาษาหนึ่งซึ่งบันทึกหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนา อีกทั้งเป็น ภาษาที่สื่อหรือถ่ายทอดแนวคิดด้านศาสนา ปรัชญา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม ของชาวตะวันออก และเป็นภาษาหลักควบคู่กับภาษาบาสีที่ถูกยืมมาใช้ในภายาไทย ด้วยตระหนักใน ข้อนี้ การศึกษาวิชาภาษาสันสกฤตจึงถูกบรรจุไว้ในรายวิชา ภาษาสันสกฤตเบื้องต้น ตามหลักสูตร พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา และสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาพีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม ผู้เงีขียบเขียงซึ่งได้รับหน้าที่ให้สอนรายวิชาดังกล่าวตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จึง ได้จัดทำเอกสารประกอบการสอนโดยการถ่ายสำเนาให้แก่ผู้ศึกษาได้นำไปใช้ประกอบการเรียน เมื่อ มีเวลาจึงได้สอบทานและแก้ไขส่วนที่ผิดพลาด พร้อมกันนั้นก็ได้ปรับปรุงและเพิ่มเติมข้อมูลเพื่อให้ สอดคล้องกับรายละเอียดของรายวิชา แล้วได้จัดทำเป็นรูปเล่มเพื่อใช้เป็นหนังสือประกอบการเรียน การสอน โดยมีเนื้อหาสาระแบ่งเป็น 11 บท มุ่งหมายให้ศึกษาโครงสร้างภาษาสันสกฤต อักษร เทวนาครี อักษรโรมัน สระ พยัญชนะ เครื่องหมายและอักษรพิเศษ ระบบเสียง สระสนธิ ส่วนประกอบของนามศัพท์ การแจกรูปนามศัพท์สระการันต์ สรรพนาม การประกอบและการแจกรูป กริยาอาขยาตกรรตุวาจก ในส่วนท้ายบทของแต่ละบทจะมีแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจ พร้อมกันนั้นยังได้เพิ่มตารางสระสนธิ พยัญชะสนธิ ศัพทานุกรม และธาตุโกศะ ไว้ในภาคผนวก เพื่อให้ง่ายต่อการค้นศัพท์ประกอบการแต่ง-แปล ของผู้ศึกษา การอธิบายศัพท์และการประกอบศัพท์ต่าง ๆ ตามหลักไวยากรณ์สันสกฤตใช้อักษรเทวนาครี และอักษรโรมันซึ่งเป็นอักษรหลักที่นักปราชญ์ในด้านสันสกฤตได้ใช้กันจำนวนมาก ในเปื้องตันอาจจะ เป็นการยากสำหรับผู้เริ่มศึกษา แต่เมื่อศึกษาไปได้สักระยะจะเริ่มคุ้นชินและเข้าใจได้ดีขึ้นทั้งจะเป็น อุปการะต่อไปในเบื้องหน้า ในบางคำจะใช้คัพท์ที่ผู้ศึกษาทั่วไปคุ้นชินอยู่แล้ว เช่น ปุลสิงค์ ใช้ ปุงสิงค์. ปรัดยยะ ใช้ ปัจจัย เป็นตัน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิดประโยชน์สำหรับผู้ศึกษาและผู้สนใจในภาษา สันสกฤด อย่างไรก็ตาม แม้ผู้เรียบเรียงจะได้พยายามอย่างรอบคอบแล้ว แต่ก็คงต้องมีข้อผิดพลาด อยู่เป็นแน่ จึงขอท่านผู้รู้เมื่อได้พบข้อผิดพลาด จงได้ท้วงติงเพื่อจะได้แก้ไขให้ถูกต้องต่อไปen_US
dc.subjectสันสกกฤตen_US
dc.subjectภาษาสันสกฤตen_US
dc.titleภาษาสันสกฤตเบื้องต้นen_US
Appears in Collections:เอกสารประกอบการสอน (Teaching Publications)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.