Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/115
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาจีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, ผศ.ดร.-
dc.date.accessioned2021-07-29T01:57:18Z-
dc.date.available2021-07-29T01:57:18Z-
dc.date.issued2019-01-01-
dc.identifier.citationLaw and Local Society Journal, Vol. 3 (1) (January - June 2019)en_US
dc.identifier.issn2586-8802-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/115-
dc.descriptionพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนเป็นพระสงฆ์กลุ่มหนึ่งที่ทาหน้าที่เป็นครูผู้สอนเป็นวิทยากรเพื่อให้ความรู้ให้การศึกษาทางด้านศีลธรรม โดยพระกลุ่มนี้ได้รับอุปถัมภ์ จากกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งทาหน้าที่ทางด้านการสอนศีลธรรม โดยมีการเรียนการสอนมาเป็นเวลานาน แต่ยังขาดระบบการจัดการที่ดี และไม่มีหน่วยงานใดเข้ามาสนับสนุนหรือรับรองอุปถัมภ์ค้าชู จึงได้ทากันไปตามความสามารถที่จะกระทาการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล นอกจากนี้ ในอดีตจานวนพระที่มีความสามารถในวิชาการศึกษามีน้อยไม่เพียงพอที่จะสอนศีลธรรม หรือวิชาพระพุทธศาสนาของโรงเรียนได้ครบถ้วนทุกแห่ง กรมการศาสนาจึงริเริ่มโครงการครู พระสอนศีลธรรมของโรงเรียน ขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เป็นต้นมาen_US
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้ เป็นแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการพัฒนาศักยภาพของพระสอนศีลธรรมของโรงเรียนในจังหวัดลาปาง ซึ่งยังขาดความรู้ในการเขียนแผนการสอน ขาดเทคนิควิธีการสอน ขาดความรู้ในการ ผลิตสื่อ และการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการศึกษาพบว่า โดยรวมมีปัญหาด้านการฝึกอบรม ด้านการผลิตสื่อ การใช้สื่อขาดเทคนิควิธีการสอน ขาดความรู้ในการผลิตสื่อ และการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้ผู้เรียนขาดความกระตือรือร้นในเนื้อหาวิชาพระพุทธศาสนา สาหรับปัญหาด้านการพัฒนาศักยภาพพระสอนศีลธรรมของโรงเรียนในจังหวัดลาปาง โดยภาพรวมแล้วทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ผู้วิจัยเห็นว่า ควรได้รับการแก้ไขรูปแบบการพัฒนาศักยภาพพระสอนศีลธรรมของโรงเรียนในจังหวัดลาปาง ดังนี้ ประการแรก ด้านการฝึกอบรม ได้แก่ กาหนดเกณฑ์คัดเลือก “พระต้นแบบ” เพื่อเป็นแบบอย่างในการพัฒนาพระสอนอย่างเป็นรูปธรรม โดยการจัดระบบการสอนให้มีความชัดเจน และสนับสนุนให้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประการที่สอง ด้านการศึกษา ได้แก่ ระดมผู้ชานาญการหรือผู้เชี่ยวชาญจัดทาคู่มืออย่างเป็นระบบ และติดตามให้มีความรู้ในการผลิตสื่อ เทคนิควิธีการสอน และการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันต่อความต้องการของผู้เรียน ประการสุดท้าย ด้านการพัฒนา ได้แก่ พัฒนาการปฏิบัติงานของพระสอนศีลธรรมให้ปรากฏชัดเจน สามารถเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของผู้เรียนศีลธรรม โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนเพิ่มพูนความรู้ และสามารถสอบธรรมศึกษาทั้งนักธรรม ตรี โท เอก มีจานวนเพิ่มมากขึ้นen_US
dc.publisherวารสารนิติศาสตร์และสังคมท้องถิ่นen_US
dc.subjectการพัฒนาศักยภาพ, พระสอนศีลธรรม, โรงเรียนในจังหวัดลาปางen_US
dc.titleการพัฒนาศักยภาพของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนในจังหวัดลำปางen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Articles)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.