Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1133
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สติวโร (สุขวัฒนวดี), พระมหาอดิเดช | - |
dc.contributor.author | วรินโท (อินทะโพธิ์), พระมหาวีรธิษณ์ | - |
dc.contributor.author | หงษ์ทอง, ธรรณปพร | - |
dc.contributor.author | บุญมะยา, สุเมธ | - |
dc.contributor.author | แซ่เอี๊ยบ, สุรีย์พร | - |
dc.date.accessioned | 2023-07-10T02:30:43Z | - |
dc.date.available | 2023-07-10T02:30:43Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1133 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมกลุ่มเชิงพุทธของ แรงงานต่างด้าวชาวพม่า 2) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และสัมพันธภาพเครือข่ายของแรงงานต่างด้าว ชาวพม่า และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามพฤติกรรมกลุ่มเชิงพุทธของแรงงาน ต่างด้าวชาวพม่า โดยมีวิธีดำเนินการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) และใช้ ทฤษฎีแรงจูงใจของแม็คเคลแลนด์ (McClelland) (1961) ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม และทฤษฎีทาง พระพุทธศาสนา จากการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า แรงงานต่างด้าวชาวพม่าที่เข้ามาทำงานในประเทศ ไทยมีจำนวนมากกว่ากลุ่มชาติพันธุ์อื่น และที่อาศัยอยู่มากที่สุดคือในจังหวัดสมุทรสาคร ลักษณะของ การเข้ามามีทั้งถูกกฎหมาย (นำเข้าตาม MOU) และลักลอบเข้ามา ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้สุ่มเก็บข้อมูล จากตัวแทนประชากรแรงงานพม่าจำนวน 400 คน พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากว่าเพศหญิง มีช่วง อายุอยู่ในระหว่าง 21-30 ปี สถานภาพโสด มีรายได้ต่อเตือน 5,000-10,000 บาท มีระดับ การศึกษาอยู่ในช่วงประถมศึกษา เมื่อวิเคราะห์แรงจูงใจของแรงงานพม่า พบว่าพฤติกรรมกลุ่มเชิงพุทธ เกี่ยวกับแรงจูงใจ ด้านบุญกิริยาวัตถุ 10 ของแรงงานต่างด้าวชาวพม่ามีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.67 ซึ่ง หมายถึงมีแรงจูงใจอยู่ในระดับมาก และ พฤติกรรมกลุ่มเชิงพุทธเกี่ยวกับแรงจูงใจด้านกลุ่มพฤติกรรม นิยมของแรงงานต่างด้าวชาวพม่า มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.76 ซึ่งหมายถึงมีแรงจูงใจอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังพบว่า ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานพม่านั้นมี 4 ด้านคือ 1) วัฒนธรรมด้านที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อม 2) วัฒนธรรมด้านการบริโภค 3) วัฒนธรรมด้านการ ดูแลสุขภาพ และ 4) วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | แรงงานต่างด้าว | en_US |
dc.subject | แรงงานต่างด้าวชาวพม่า | en_US |
dc.subject | การพัฒนาคุณภาพชีวิต | en_US |
dc.title | พฤติกรรมกลุ่มเชิงพุทธของแรงงานต่างด้าวชาวพม่า กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต | en_US |
dc.title.alternative | The Buddhist Group Behavior of Burmese Immigrant Workers and the Development of Quality of Life | en_US |
Appears in Collections: | ส่วนหอสมุดกลาง |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
0040พระมหาอติเดช สติสํวโร.pdf | 10.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.