Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1108
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | คมภีรปญฺโญ (สินสมบัติ), พระสันต์ทัศน์ | - |
dc.contributor.author | จนุทาโภ, พระครูปลัดสุวัฒนพุทธคุณ | - |
dc.contributor.author | นามสง่า, ปัญญา | - |
dc.contributor.author | ทองสุข, ชัยรัตน์ | - |
dc.contributor.author | สินทับศาล, ภูวเดช | - |
dc.date.accessioned | 2023-07-09T14:45:31Z | - |
dc.date.available | 2023-07-09T14:45:31Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1108 | - |
dc.description.abstract | ผลการวิจัยด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุจากข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง พบว่า สุขภาวะของผู้สูงอายุ โดยการวิเคราะห์ในลำดับข้อมูลสรุปกลั่นกรองลงในด้าน กาย จิต สังคมและปัญญา นำเข้าสู่การ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ โดยจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตำรา เอกสาร รวมทั้ง งานวิจัย วรรณกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พบว่า การเจริญสติปัฏฐานเป็นการปฏิบัติธรรมที่สำคัญมีผลต่อ ผู้ปฏิบัติแม้แต่ผู้สูงอายุก็สามารถปฏิบัติได้ การเสริมสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุนั้น ทำได้ด้วยการฝึกปฏิบัติสติปัฏฐาน ตามที่ ผู้วิจัยเก็บ รวบรวมข้อมูลในเชิงเอกสาร ด้านสติปัฏฐาน ด้านสุขภาวะแต่ละด้าน รวมถึงข้อมูลด้านผู้สูงอายุ เพื่อใช้ เป็นกรอบคิดการวิจัย ซึ่งสรุปแนวทางส่งเสริมสุขภาวะได้แก่ การเจริญสติปัฏฐาน วัดด้วยการตอบ แบบสอบถามสุขภาวะผู้สูงอายุเพื่อแสดงถึงสุขภาวะผู้สูงอายุปัจจุบัน ซึ่งสามารถเสริมสร้างสุขภาวะได้ จริง โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์เครื่องมือ เพียงศึกษาวิธีการปฏิบัติสติปัฏฐาน ซึ่งผลของความก้าวหน้าแต่ ละบุคคลอาจมีความแตกต่างกันไปเช่น ความรู้เข้าใจ สุขภาพตนเอง ความสนใจต่อการปฏิบัติ รวมถึง ต้องมีความเพียรต่อการปฏิบัติ ซึ่งเมื่อนำผลค่าเฉลี่ยสุขภาวะผู้สูงอายุเปรียบเทียบก่อนและหลังฝึก ปฏิบัติฯ พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่คะแนนเฉลี่ยสุขภาวะของ ผู้สูงอายุหลังการฝึกปฏิบัติสติปัฏฐานสูงกว่าก่อนการฝึกปฏิบัติสติปัฏฐานแสดงว่า การปฏิบัติตามหลัก สติปัฏฐานมีส่วนส่งเสริมให้ผู้สูงอายมีสุขภาวะที่สูงขึ้น ผลวิเคราะห์การปฏิบัติตามหลักสติปัฏฐาน 4 กับการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุโดยใช้ชุด ความรู้ที่เป็นองค์ความรู้ในการปฏิบัติสำหรับผู้สูงอายุ สามารถทำใหผู้สูงอายุปฏิบัติได้เองหากเมื่อนำ กลับไปทำที่บ้าน ซึ่งสามารถสรุปองค์ความรู้เพื่อการปฏิบัติได้ 6 องค์ คือ ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น การฝึก ปฏิบัติกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การฝึกปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การฝึกจิตตานุปัส สนาสติปัฎ ฐาน การฝึกธัมมานุปัสสนาสติปัฎฐาน และ ทบทวนข้อควรปฏิบัติที่ควรศึกษา เมื่อนำมาใช้ในการให้การ ฝึกอบรมและปฏิบัติตามสามารถส่งเสริมสุขภาวะได้โดยตนเองโดยการฝึกปฏิบัติของตัวผู้สูงอายุ อาจให้ การแนะนำและติดตามให้การฝึกปฏิบัติสติปัฏฐานอย่างใกล้ชิดเป็นสำคัญ | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การฝึกปฏิบัติ | en_US |
dc.subject | สติปัฏฐาน | en_US |
dc.subject | เสริมสร้างสุขภาวะ | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | en_US |
dc.title | ศึกษาวิเคราะห์วิธีการฝึกปฏิบัติในสติปัฏฐานเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของผู้สูงอายุ | en_US |
dc.title.alternative | The Analytical Study of Satipattana to Encourage the Elderly’s Well - Being. | en_US |
Appears in Collections: | ส่วนหอสมุดกลาง |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
0013พระสันทัศน์ คมฺภีรปญฺโญ.pdf | 2.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.