Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาขวัญชัย, กิตฺติเมธี,ผศ.ดร.-
dc.contributor.authorไข่มุก, เหล่าพิพัฒนา-
dc.contributor.authorพระมหาพรชัย, สิริวโร-
dc.contributor.authorแม่ชีธรรมอธิษฐาน, พรบันดาลชัย-
dc.contributor.authorประเวศ, อินทองปาน-
dc.date.accessioned2022-12-22T10:47:25Z-
dc.date.available2022-12-22T10:47:25Z-
dc.date.issued2565-08-30-
dc.identifier.issnISSN: 2586-8144 (Print) ISSN: 2730-339X (Online)-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1094-
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเสนอแนวคิดหลังยุคสมัยใหม่ของพุทธทาสภิกขุการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า แนวคิดหลังยุคหลังสมัยใหม่ของพุทธทาสภิกขุถูกพิจารณาผ่านกระบวนการปฏิรูปพระพุทธศาสนาโดยมุ้งเน้นสร้างความเป็นเอกภาพในความแตกต่าง โดยพุทธทาสภิกขุเสนอแนวทางในการปฏิบัติเชิงโครงสร้างที่มีเป้าหมายเดียวกันและแนวทางปฏิบัติที่อาจแตกต่างหลากหลายกันได้ ท่านเห็นปัญหาว่าการนำเสนอพระพุทธศาสนานั้นเน้นพิธีกรรมมากกว่าปฏิบัติได้จริง ท่านมองว่า สังคมควรให้ความสำคัญกับการนำพระพุทธศาสนาไปปรับใช้ในชีวิตจริง ส่วนทัศนะมุมมองต่อแนวคิดหลังยุคสมัยใหม่ในพระพุทธศาสนา พุทธทาสภิกขุได้เสนอว่ามนุษย์ทุกคนนั้นต่างมีความตั้งใจในจุดเริ่มต้นและความต้องการในท้ายสุดเหมือนกัน แต่มีวิธีแสดงออกในรูปแบบที่แตกต่างกันไป เพราะสภาวะทางสติปัญญาของปัจเจกบุคคลแต่ละคนไม่เท่ากัน อีกทั้งการตรวจสอบพระพุทธศาสนาแบบคติชนวิทยาของพุทธทาสภิกขุได้ชี้ให้เห็นถึงกระบวนเข้าใจต่อบริบทของโลกสมมติและปรมัตถะถูกมองต่างกัน จึงนำไปสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบเรื่องเล่าขนาดใหญ่ทางสังคมศาสนาได้ถูกลดทอนให้กลายเป็นแค่เรื่องเล่าขนาดเล็กผ่านวัฒนธรรมชุมชน โดยเสนอให้เห็นผ่านวิถีชีวิตของปัจเจกบุคคลที่เป็นปุถุชนและอริยบุคคลที่ร่วมสร้างและดำรงอยู่ในวัฒนธรรมและขนบประเพณีเดียวกัน อีกทั้งท่านพุทธทาสยังพยายามเปิดพื้นที่สาธารณะในการที่สังคมโลกและสังคมพระสงฆ์ที่จะเชื่อมโยงเข้าหากันในแง่ของการปฏิบัติตนให้เอื้อประโยชน์สุขซึ่งกันและกันในการดำรงอยู่ร่วมกันen_US
dc.publisherวารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2565)en_US
dc.subjectพุทธทาสภิกขุen_US
dc.subjectหลังสมัยใหม่en_US
dc.titleพุทธทาสภิกขุ: การเปลี่ยนผ่านแนวคิดหลังสมัยใหม่ในพระพุทธศาสนาเถรวาทen_US
dc.title.alternativeBuddhadãsabhikkhu: A Transformation of Postmodern in Treravada Buddhismen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Articles)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
document (41).pdfบทความวิจัย390.81 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.