Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1093
Title: แนวทางการพัฒนาการเมืองการปกครองในสังคมชนบทสมัยใหม่
Other Titles: Guidelines for Political and Administrative Development in The Modern Rural Society
Authors: พละกุล, อนุชา
สำแดงเดช, พระครูอุดมเจติยารักษ
เฟื่องฟ, นพ
สุดแสนสง่า, ศิริเพ็ญ
ทิพพ์ประจง, มะลิ
Keywords: แนวทางการพัฒนา
การเมืองการปกครอง
สังคมชนบทสมัยใหม่
Guidelines
Political and Administrative Development
Modern Rural Society
Issue Date: 13-Sep-2565
Abstract: การกำหนดบทบาทพลเมืองด้านการเมืองในรัฐธรรมนูญ เป็นพื้นฐานระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนสมัยใหม่ ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วทั้งอาณาจักรในทุกภูมิภาค มีโอกาสเข้าร่วมการเมืองระดับชาติ แล้วกำหนดความสัมพันธ์ทางการเมืองที่ส่งผลต่อชนบท เป็นการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าผสมแบบมีส่วนร่วม ในการให้เกิดสำนึกรู้อำนาจและการใช้อำนาจการเมือง ที่แสดงความต้องการการมีส่วนร่วมให้ขยายไปสู่องค์กรของรัฐ ภายใต้ช่องทางตามพระราชบัญญัติต่างๆ ซึ่งได้ระบุการมีส่วนร่วมภาคประชาชนไว้ชัดเจน ถือเป็นการจัดสรรผลประโยชน์ทางการเมืองตามระบอบประชาธิปไตย เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่สมาชิกแห่งรัฐและสังคมพึงได้ ทั้งทรัพยากรนามธรรมและรูปธรรมแก่พลเมืองอย่างชอบธรรม โดยเจ้าหน้าที่รัฐต้องไม่ใช้อำนาจรัฐคุกคามประชาชนด้วยอำนาจนอกเหนือกฎหมาย ทั้งเชิงกลั่นแกล้งด้วยข้อกฎหมายที่คุกคามความปลอดภัยต่อชีวิต ทรัพย์สิน และความก้าวหน้าทางการเมือง เพื่อปกป้องอำนาจและผลประโยชน์ของเจ้าหน้าที่รัฐเอง และต้องกระจายอำนาจระดับท้องถิ่นให้ยุติธรรม ด้วยการคัดเลือกผู้นำต้องโปร่งใสเสมอภาคโดยไปถูกปิดกั้นทั้งเชิงเนื้อหาและวิธีการ ทั้งด้านกายภาพและจิตใจ ปาศจากกรกีดกันขัดขวางจากอุปสรรคและจากเล่ห์กลของผู้มีอำนาจในท้องถิ่นและภูมิภาค อันเป็นอำนาจที่พลเมืองในชุมชนพึงมีตามบทบัญญัติต้องถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเป็นแนวทางการพัฒนาการเมืองการปกครองในสังคมชนบทสมัยใหม่อย่างแท้จริง The determination of citizen roles for politic in the constitution is a fundamental of a modern representatives’ democracy that opens the opportunity for every people nationwide to have chances to take part in politics in a national level. As a result, it paves the way to determine the political relationship which consequently affected the rural. Such mechanism contributes to build up the political cultures in forms of people participation by acknowledging and exercising the political power in order to expand the people participation to the government organization corresponding to the various Act to clearly identify people participation. This manner could be regarded as the allocation of political benefits and interests either tangibles or intangibles in a democracy system were organized fairly for the civic citizens. The state authorities should neither harm hispeople by using power unlawfully, life and property treats nor political progress. In order to protect interests and benefits of state personnel and to be fair in decentralization of power administration in rural areas. The selection of rural leaders must be fair, equal and transparent, no blocking on either contents and procedures in both physical and mental. There should be no any obstacle, no tricks from the rural as well as the local authorities to preserve the rights which the civic citizen deserve to have by law. All of these characteristics would be the political and administrative in a modern rural society authentically.
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1093
Appears in Collections:บทความวิชาการ



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.