Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาขวัญชัย, กิตฺติเมธี,ผศ.ดร.-
dc.date.accessioned2022-09-01T14:10:52Z-
dc.date.available2022-09-01T14:10:52Z-
dc.date.issued2560-06-30-
dc.identifier.citationTCI 2en_US
dc.identifier.issn2465-3683 (Print), 2730-3098 (Online)-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1080-
dc.description.abstractในบทความชิ้นนี้ ผู้วิจัยได้นําเสนอการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับบรรลุธรรม ในทฤษฎีทางปรัชญาภาษากล่าวถึงภาษาทั่วไปเป็นหลัก แต่ในพุทธปรัชญากล่าวถึงภาษาธรรม โดยมีบทสรุปดังนี้๑. ภาษากับปริยัติ การศึกษาปริยัติเกี่ยวข้องกับตําราและคําสอนทางคัมภีร์ โดยเริ่มต้นจากการฟัง,คิดใคร่ครวญและลงมือปฏิบัติ กรณีนี้ทําให้ภาษาปริยัติกลายเป็นภาษาทางปรัชญาที่เป็นการโต้เถียงกันตามการตีความของแต่ละบุคคลไป ในด้านพุทธปรัชญาเถรวาทได้แก่ไขปัญหานี้ด้วยอาศัยบุคคลที่บรรลุธรรม ภาษาในคัมภีร์ถูกตีความว่าสร้างความเข้าใจต่อข้อเท็จจริงเท่านั้น แต่ก็ยังไม่ควรเชื่อว่าเป็นความจริง๒. ภาษากับปฏิบัติ คําสอนภาคปฏิบัติที่นําไปสู่ความจริง ไม่จําเป็นต้องตีความ แต่มีคําถามว่าพระพุทธเจ้าจะแสดงธรรมแล้วทําให้ผู้ฟังเข้าใจก่อน ฉะนั้น การบรรลุธรรมได้ต้องอาศัยภาษา เพราะผู้จะบรรลุธรรมได้ต้องปฏิบัติโดยอาศัยภาษาจากตําราหรือคําพูดของอาจารย์ ภาษาที่เกิดขึ้นหลังจากการปฏิบัติ เรียกว่า ภาษาธรรม เป็นภาษาที่เข้าใจนามธรรม และสร้างพัฒนาชีวิตด้วยการปฏิบัติที่ถูกตองตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา จนกระทั่งบรรลุธรรมได้ในที่สุดen_US
dc.publisherวารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (2017): มกราคม-มิถุนายนen_US
dc.subjectภาษาen_US
dc.subjectการบรรลุธรรมen_US
dc.subjectพุทธปรัชญาเถรวาทen_US
dc.titleศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับการบรรลุธรรม ในพุทธปรัชญาเถรวาทen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Articles)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ภาษากับการบรรลุธรรม.pdfบทความ103.18 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.