Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระเทพสิทธิมุนี-
dc.contributor.authorพระราชวรเวที-
dc.contributor.authorพระราชเวที-
dc.contributor.authorพระปริยัติธาดา-
dc.contributor.authorชัยชาญ, ศรีหานู-
dc.contributor.authorสุพิชฌาย์, พรพิชณรงค์-
dc.date.accessioned2022-08-30T03:30:28Z-
dc.date.available2022-08-30T03:30:28Z-
dc.date.issued2561-05-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1065-
dc.description29-42 หน้าen_US
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักจิตนิยามในพระพุทธศาสนา เถรวาท หลักศีลธรรมสากลและข้อจำกัดของศีลธรรมในปัจจุบัน และเพื่อวิเคราะห์จิตนิยามใน ฐานะมโนสำนึกทางศีลธรรมสากล งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสารโดยมีวิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า จิตนิยามคือกฏหรือตัวกำหนดของจิตซึ่งมี ธรรมชาติเกิด-ดับตลอดเวลา และเป็นไปตามปัจจัยปรุงแต่ง จิตแบ่งออกเป็น ๓ คือ กุศลจิต อกุศลจิต และอัพยากตจิต ทำหน้าที่ปรุงจิตให้แสดงพฤติกรรมออกมาภายนอกตามตัวปรุงแต่งจิต หลักศีลธรรมทั่วไปยังติดอยู่ในกรอบของการคิดแบบมีตัวตน แต่จิตยามใช้สติสัมปชัญญะกำหนดรู้ สภาวะของจิตที่กำลังดำเนินไปอยู่ทุกขณะจนสามารถจำแนกรู้ตนว่าสภาวะของจิตกำลังอยู่ใน ภาวะกุศลหรืออกุศล ซึ่งจะสร้างความปกติของกายภาพด้วยกุศล เพราะสติจะยับยั้งไม่ให้จิตถูก ปรุงแต่งด้วยอกุศล ยังเปิดให้มีการพัฒนาพฤติกรรม และยังใช้เป็นเกณฑ์ตัดสินการกระทำ ซึ่ง สามารถแก้ไขข้อจำกัดและความบกพร่องของศีลธรรมทั่วไปได้ This academic paper is a part of research work entitled ‘An Analysis of Cittaniyāma (Psychic Law) as Universal Moral Conscience’ focuses on a study of the principle of Cittaniyama in Theravada Buddhism, analysis of moral principles and analyzing the principle of Cittaniyama as a universal moral conscience. This research is a documentary, taken data from primary sources and related documents. The findings were that Cittaniyāma is a regulation or law of mentality. The mentality or mind naturally occurs-extinguishes in every moment, depending on its factors. It divided into 3 categories: wholesome, unwholesome and neutral consciousness. All general moral thoughts are engaged with just reasoning and self-cling while cittaniyama uses mindfulness and awareness to observe the current of consciousness with its factors in every moment. It can prevent and subdue the immoral deeds, opening for higher moral development, valuating all acts and final it can solve moral disputesen_US
dc.publisherวารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์en_US
dc.relation.ispartofseriesปีที่ 14 ฉบับที่ 2;29-42 pp.-
dc.subjectจิตนิยามen_US
dc.subjectหลักศีลธรรมen_US
dc.subjectมโนสำนึกen_US
dc.subjectกุศลจิตen_US
dc.titleวิเคราะห์หลักจิตนิยามในฐานะมโนสำนึกทางศีลธรรมสากลen_US
dc.title.alternativeAn Analysis of Cittaniyāma (Psychic Law) as Universal Moral Conscienceen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.