Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1060
Title: การศึกษาบทบาทของพระพุทธเจ้าในฐานะทรงเป็นต้นแบบนวัตกรรมเครื่องนุ่งห่ม ที่เป็นมิตรกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาเฉพาะผลิตภัณฑ์จีวร
Other Titles: A Study of the Buddha’s Role as Pioneer of Costume Innovation Accustomed to Nature and Environment: A Case Study of Yellow Robe Products
Authors: ดร.ทรงวิทย์, แก้วศรี
รศ.ดร. ประพันธ์, ศุภษร
ดร.นวลวรรณ, พูนวสุพลฉัตร
Keywords: (นวัตกรรมจีวร)
(บทบาท)
(พระพุทธเจ้า)
Issue Date: Jul-2563
Publisher: วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์
Series/Report no.: ปีที่ 6 ฉบับที่ 2;15-26 pp.
Abstract: บทความวิจัยเรื่อง “การศึกษาบทบาทของพระพุทธเจ้าในฐานะทรงเป็นต้นแบบนวัตกรรม เครื่องนุ่งห่มที่เป็นมิตรกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาเฉพาะผลิตภัณฑ์จีวร” มีวัตถุประสงค์ 2 ประการคือ (1) เพื่อศึกษาประวัติจีวรและบทบาทของพระพุทธเจ้าในฐานะทรงเป็น ต้นแบบนวัตกรรมจีวร และ (2) เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้การสร้างนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การวิจัยเป็นแบบวิจัยเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า จีวรคือเครื่องนุ่งห่มของภิกษุ เป็น 1 ในปัจจัย 4 ได้แก่จีวร, บิณฑบาต, เสนาสนะ และเภสัช จีวรอาจได้มา 2 ทางคือ ผ้าบังสุกุล หรือผ้า ห่อซากศพในป่าช้า น ามาซักล้างและตัดเย็บ เป็นผ้านุ่งคืออันตรวาสก ผ้าห่มคืออุตตราสงค์ และผ้า ห่มซ้อนคือสังฆาฏิ รวมเป็น 3 ผืนเรียก ไตรจีวร อีกทางหนึ่งคือผ้าที่มีผู้ถวายเรียกคหบดีจีวร เดิมทีนั้น จีวรคงไม่มีรูปแบบตายตัว ต่อมาทรงโปรดให้พระอานนทเถระออกแบบตามรูปแนวคันนาของชาวมคธ เป็นตารางน้อยใหญ่ เป็นระเบียบเรียบร้อยดี จึงทรงอนุญาตให้ภิกษุสงฆ์ใช้แบบจีวรดังกล่าวสืบมาถึง ทุกวันนี้ นวัตกรรมการออกแบบจีวรของพระพุทธเจ้านั้นใช้วัตถุดิบที่หาได้ในท้องถิ่นแบบภูมิปัญญา ชาวบ้าน เป็นมิตรกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่รบกวนชาวบ้านเกินควร ภิกษุใช้สอยอย่างประหยัด และคุ้มค่า ทั้งนี้เป็นไปตามหลักมักน้อยสันโดษและปฏิบัติขัดเกลากิเลสของภิกษุ This research paper entitled “A Study of the Buddha’s Role as Pioneer of Costume Innovation accustomed to Nature and Environment: A Case Study of Yellow Robe Products” is of two objectives, viz. (1) to study the origin of Bhikkhus’ robes and the role of the Buddha as the pioneer of robe innovation and (2) to synthesize knowledge on creating innovations that are friendly to nature and environments. Methodology was a documentary research. The findings were that Civara or Bhikkhus’ robe is one among the four requisites; cloths, food, dwelling, and medicine. Civara was acquired by two ways, i.e., getting from rag heap or wrapping cloths of the deceased in graveyard, and then clean, cut in a form of robe using as the lower rope and upper robe, and blanket called Sanghati totally 3 robes, and another way is to receive from the householders. At the beginning, the Civara design was not certain uniformed, later on the Buddha ordered Venerable Ananda to design for Bhikkhus’ robes as the bow (ridge) of Magadha farmers. This design was accepted and permitted to use till today. Robe innovation of the Buddha uses the raw materials acquired in the locality, by local knowledge, friendly to nature and environments and not to disturb people unnecessarily. After his receiving, every Bhikkhu must use them economically conforming to solitude and getting rid of defilements.
Description: 15-26 หน้า
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1060
ISSN: 2539-5777
Appears in Collections:บทความ



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.