Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1053
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธานี, สุวรรณประทีป | - |
dc.contributor.author | ชัยชาญ, ศรีหานู | - |
dc.contributor.author | พระปลัดประพจน์ สุปภาโต, อยู่สำราญ | - |
dc.contributor.author | พระมหาสมศักดิ์ ญาณโพโธ | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-25T06:42:56Z | - |
dc.date.available | 2022-08-25T06:42:56Z | - |
dc.date.issued | 2563-07 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1053 | - |
dc.description | 88-97 หน้า | en_US |
dc.description.abstract | การตีความคำสอนที่ตั้งอยู่บนฐานแบบเทวนิยมนำไปสู่การปฏิบัติที่บ่งถึงเป้าหมายเชิงการยอมรับและ มองโลกในเชิงหนทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายเชิงภาววิสัย ส่วนการตีความของอเทวนิยมตั้งอยู่บนฐานของการสร้างความรู้แจ้งตนเองเชิงญาณวิทยา โดยแบ่งฐานความรู้ออกเป็น 2 อย่างคือ ความรู้เชิงสมมติและความรู้เชิงปรมัตถ์ ความรู้ที่แท้จริงมีความเชื่อมโยงกับจิตในฐานะผู้รู้ที่มีฐานของความเป็นปรมัตถ์ในตัวเอง การมองเห็นฐานปรมัตถ์ในตัวเองทำให้เกิดการมองเห็นภาวะที่สมบูรณ์ในตัวเอง จึงไม่จำเป็นต้องแสวงหาเป้าหมายอื่น ความรู้แจ้งความเป็นจริงแท้แบบปรมัตถ์จึงมีความบริบูรณ์เพื่อทำให้จิตเข้าสู่เอกภาพมีลักษณะเป็นอัตวิสัย ส่วนการตีความเชิงเทวนิยมยังมีการแบ่งแยกความจริงของโลกในฐานะสิ่งถูกรังสรรค์ขึ้นและตัวผู้รังสรรคสม บูรณ์ในฐานะแหล่งเดิมเพื่อน าไปสู่การเข้าถึงความเป็นหนึ่งเดียวกับสิ่งสมบูรณ และวิธีการดังกล่าวตั้งอยู่บน ฐานของความยินยอมหรือศรัทธาซึ่งเป็นภาวะจิตแบบภาววิสัย จึงส่งผลต่อพฤติกรรมของการด าเนินชีวิต 2 แบบ คือ อเทวนิยมเน้นความรู้ที่เกิดจากการรู้แจ้งความเป็นจริง ส่วนอย่างหลังคือเทวนิยมรอการประทาน หรือการเปิดเผยจากพระผู้สรร้าง ซึ่งเป็นสิ่งอื่นนอกจากจิตตนเอง การเข้าถึงจึงมีลักษณะภววาท Religious teaching interpretation which relies on Theistic type leads to objective goal as being accepted, viewing the world as the way to final goal or ontological base, while Atheistic approach emphasizes on self-realization through epistemological base. This view was divided into 2 types, conventional and absolute knowledge. The absolute being relates with mind or consciousness as the knower, which was itself is solely absolute truth. The self realization is the final truth-in-itself, therefor it does not need other objects to attain. The absolute realization is complete task to be united as subjectivism, while Theistic interpretation still classified the two- the created being and the creator which is the authentic source of all called God. The second method open for beliefs and obeyances which is the passive consciousness. The two ways dealing with religious interpretation result 2 types of practical code of living; Atheistic approach focuses on self-realization as the absolute itself, but the later, Theistic interpretation opens up the middle agent as the granter or revelation of the Absolute which is another, so its attainment is an Ontological aspect. | en_US |
dc.publisher | วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม | en_US |
dc.subject | คำสอน | en_US |
dc.subject | การตีความ | en_US |
dc.subject | ความจริงสูงสุด | en_US |
dc.title | มิติของการตีความคำสอนของศาสนาส่งผลต่อจุดยืนและวิธีการเข้าถึงความจริงสุงสุด | en_US |
dc.title.alternative | Distinctive Dimension of Hermeneutics of Religious Teaching Affecting to the Base and Its Approach to Attain the Absolute | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
บทความ มิติของการตีความคำสอนของศาสนาส่งผลต่อจุดยืนและวิธีการเข้าถึงความจริงสุงสุด.pdf | 183.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.