Please use this identifier to cite or link to this item:
http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1049
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชัยชาญ, ศรีหานู | - |
dc.date.accessioned | 2022-08-24T08:41:54Z | - |
dc.date.available | 2022-08-24T08:41:54Z | - |
dc.date.issued | 2563-01 | - |
dc.identifier.issn | 2539-5777 | - |
dc.identifier.issn | 2651-0820 | - |
dc.identifier.uri | http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1049 | - |
dc.description.abstract | บทความวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานในคัมภีร์ พุทธศาสนาเถรวาท การปฏิบัติการสอบอารมณ์กรรมฐานในประเทศลาวและเพื่อวิเคราะห์ความ สอดคล้องการปฏิบัติการสอบอารมณ์กรรมฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนา การวิจัยพบว่า การปฏิบัติ กรรมฐานในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีควบคู่กันมากับหลักพระพุทธศาสนาตั้งแต่สมัย โบราณแต่ไม่มีหลักฐานบันทึกอย่างเป็นทางการ ในปัจจุบันส่วนใหญ่หลักการปฏิบัติกรรมฐานได้รับ อิทธิพลจากคำสอนของพระอาจารย์มหาปาน อานนฺโท ผู้ได้รับการยกย่องอย่างมากและขยายไปทั่ว ประเทศ หลักการปฏิบัติกรรมฐานใช้การรู้เท่าทันอิริยาบถปัพพะ ในการเริ่มทำกรรมฐานจะต้องบูชา และขอขมาโทษต่อพระรัตนตรัยก่อนแล้วจึงพิจารณาร่างกายด้วยมรณัสติแล้วจึงนั่งสมาธิภาวนาโดย รู้เท่าทันอิริยาบถหลักและย่อยจนจิตสงบจากนั้นยกจิตให้รู้ทันความเป็นปรมัตถ์ของรูปนามที่กำลัง ปรากฏในทวารทั้ง ๖ จิตก็รู้จักและไม่ยึดติดบัญญัติจนทำให้จิตหลงและฟุ้งซ่านเป็นเหตุของการยึดมั่นกิเลสตัณหา และทุจริตทั้งหลาย This research article aims at investigation on the meditation practice and examining tradition in Lao PDR with analysis for its consistency of original Tipitaka scripture. the result revealed that meditation practice in the Lao PDR has been coupled with Buddhism since ancient times, but there is no official record. At present, most of the principles of meditation are inspired by the teachings of Master Pan Ananda, who has been highly praised and spread his method throughout the country. His meditation technique emphasizes on contemplating on bodily manners. In the beginning of meditation, one must worship Triple Gems and asking for forgivingness, then reminding to his body with death mindfulness, and meditating, observing the main bodily manners as well as partial manners until his mind became restless. With strong concentration, he continues observing the ultimate states of name and forms appearing through six sensual organs, no longer he will attain realization and detaching from clinging of conventional things, rooted by delusion and distractions causing passions, lust and all wrong deeds. | en_US |
dc.publisher | วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม | en_US |
dc.subject | กรรมฐาน | en_US |
dc.subject | การสอบอารมณ์ | en_US |
dc.subject | พระมหาปาน อานนฺโท | en_US |
dc.subject | อิริยาบถ | en_US |
dc.title | การปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท ในประเทศลาว | en_US |
dc.title.alternative | The Practical Form and Examination of Theravada Meditation in Laos | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศลาว.pdf | 300.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.