Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1045
Title: การปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลัก พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย
Other Titles: The Practical Form and Examination of Theravada Meditation in Thailand
Authors: พระมหาชิต ฐานชิโต
พระครูพิพิธวรกิจจานุการ
Keywords: การปฏิบัติ
การสอบอารมณ์
กรรมฐาน
ประเทศไทย
Practice
Examination
Meditation;
Issue Date: Jul-2561
Publisher: วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์
Series/Report no.: ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2561);1201-1211 pp.
Abstract: บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “การปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลัก พระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย” มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติและการ สอบอารมณ์กรรมฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติการสอบอารมณ์กรรมฐาน 5 สำนักในประเทศไทย 3)เพื่อเสนอรูปแบบการปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสมกับประเทศ ไทย ผลการวิจัยพบว่า การปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานในประเทศไทย 5 สำนัก คือ ) สำนักกรรม ฐานแบบพอง-ยุบตามแนวพระธรรมธีรราชมหามุนี มีความสอดคล้องกับพระไตรปิฎก ใช้สติปัฏฐาน 4 มีการ กำหนด ยุบหนอ-พองหนอ เป็นอารมณ์หลัก 2) แบบพุท-โธตามแนวหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ใช้กายคตาสติมี การกำหนดพุท-โธ เป็นอารมณ์หลัก 3) แบบสัมมา-อะระหัง ตามแนวพระมงคลเทพมุนี ใช้สติปัฏฐาน 4 มีการกำหนดสัมมา-อรหังเป็นอารมณ์หลัก 4) แบบเคลื่อนไหวตามแนวหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ใช้กายานุปัสสนาสติปัฏฐานมีการเคลื่อนไหวร่างกาย 5 จังหวะเป็นอารมณ์หลัก 5) แบบอานาปานสติตาม แนวพุทธทาสภิกขุ ใช้อานาปานสติเป็นอารมณ์หลัก มีการปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลักสติ ปัฏฐาน 4 คือ กาย เวทนา จิต และธรรม เพราะเป็นการปฏิบัติที่ถูกต้องตามพระไตรปิฎก และมีความ เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติกรรมฐานสืบต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้ This article is a part of research entitled ‘Practical form and examination of Theravada meditation in Thailand’ aiming at analysis the practical form and examining of meditation in Thailand. The findings were that there are 5 main traditions of mediation in Thailand; 1) Yupnor-pongnor tradition of Phradhamdhiraiajmahamuni (Jodok Ñanasiddhi, Pali 9) is consistent with Tipitaka using 4 foundations of mindfulness by practicing up-down abdomen observing as the meditation’s objects, 2) Bud-Dho tradition of most Ven. Mun Bhuridatto uses body mindfulness with Bud-dho reciting as meditation’s object, 3) Samma-Arahang tradition of Phramongkoldhepmuni (Sod) applies 4 foundations of mindfulness with Samma-Arahang reciting as objects of meditating, 4) Body-moving mindfulness school of Luang Poh Tian Cittasubho uses body contemplation by observing 5 manners of body moving as meditation’s object, 5) Anapanasati tradition of Bhuddhadasa Bhikkhu uses 4 foundations of mindfulness with breathing in-out as object of meditation. Practice and examination on meditation based on 4 foundations of mindfulness; body, feeling, mentality and mental objects are consistent with Tipitaka and beneficial for practitioners until the present.
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1045
Appears in Collections:บทความ



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.