Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1044
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระมหาชิต ฐานชิโต, ดร.-
dc.contributor.authorพระครูพิพิธวรกิจจานุการ, ดร.-
dc.date.accessioned2022-08-22T09:49:07Z-
dc.date.available2022-08-22T09:49:07Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1044-
dc.description.abstractบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “การปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตาม หลักพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย” มีวัตถุประสงค์3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาการปฏิบัติ และการสอบอารมณ์กรรมฐานในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติการสอบ อารมณ์กรรมฐาน 5 ส านักในประเทศไทย 3)เพื่อเสนอรูปแบบการปฏิบัติและการสอบอารมณ์ กรรมฐานที่เหมาะสมกับประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า การปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานใน ประเทศไทย 5 ส านัก คือ 1) ส านักกรรมฐานแบบพอง-ยุบตามแนวพระธรรมธีรราชมหามุนีมีความ สอดคล้องกับพระไตรปิฎก ใช้สติปัฏฐาน 4 มีการก าหนด ยุบหนอ-พองหนอ เป็นอารมณ์หลัก 2) แบบ พุท-โธตามแนวหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ใช้กายคตาสติมีการก าหนดพุท-โธ เป็นอารมณ์หลัก 3) แบบ สัมมา-อะระหัง ตามแนวพระมงคลเทพมุนี ใช้สติปัฏฐาน 4 มีการก าหนดสัมมา-อรหังเป็นอารมณ์หลัก 4) แบบเคลื่อนไหวตามแนวหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ใช้กายานุปัสสนาสติปัฏฐานมีการเคลื่อนไหว ร่างกาย 15 จังหวะเป็นอารมณ์หลัก 5) แบบอานาปานสติตามแนวพุทธทาสภิกขุ ใช้อานาปานสติเป็น อารมณ์หลัก มีการปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลักสติปัฏฐาน 4 คือ กาย เวทนา จิต และธรรม เพราะเป็นการปฏิบัติที่ถูกต้องตามพระไตรปิฎก และมีความเหมาะสมกับผู้ปฏิบัติ กรรมฐานสืบต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้en_US
dc.subjectการปฏิบัติen_US
dc.subjectการสอบอารมณ์en_US
dc.subjectกรรมฐานen_US
dc.subjectประเทศไทยen_US
dc.titleการปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท ในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeThe Practical Form and Examination of Theravada Meditation in Thailanden_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.