Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพระราชเวที (สุรพล)-
dc.contributor.authorพระมหาโกมล, กมโล-
dc.contributor.authorพระมหาภูมิชาย, อคฺคปญโญ-
dc.date.accessioned2022-08-18T12:36:34Z-
dc.date.available2022-08-18T12:36:34Z-
dc.date.issued2560-01-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1039-
dc.description.abstractบทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาบริบทและนัยของคำว่า สัมภเวสี ที่มีความหมายคลาดเคลื่อน จากรากศัพท์เดิม โดยผ่านสื่อต่างๆ ที่ไม่ตรงกับความหมายเดิมตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา การตีความคำว่า สัมภเวสี คลาดเคลื่อนจากความหมายเดิม เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเนื้อหาของ ศัพท์ที่ใช้ มีสาเหตุมาจากบริบททางสังคมและนัยทางการเข้าใจของผู้ใช้ศัพท์นั้นไม่ได้นิยามศัพท์ให้ชัดเจน ก่อน แต่อาศัยนัยของตนเองตีความและนำมาใช้กับสาธารณชนจนทำให้เกิดความเข้าใจผิดและมีความเห็นผิด ทั้งนี้เป็นเพราะความไม่เข้าใจถึงสารัตถะสำคัญที่เป็นต้นเค้าจุดประสงค์เดิมของพระพุทธเจ้า และมีสาเหตุมา จากการรับแนวคิดเชิงตัวตนแบบศาสนาเทวนิยมและลัทธิชวนเชื่อเชิงบังคับให้บริโภค ซึ่งเป็นการหยิบฉวย อันขาดสติปัญญา และต้องการใช้ศัพท์เพื่อหวังผลประโยชน์ในการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อให้เกิดความยึดถือเป็น ตัวตน ซึ่งหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาถือเป็นมิจฉาทิฏฐิ อีกอย่างหนึ่งมักมีการอ้างอิงหลักคำสอนใน พระพุทธศาสนา แต่กลับนำมาใช้ในบริบทที่ต่างกัน ทำให้เกิดความเชื่อถือผิดพลาดจากเป้าหมายเดิมของ พระพุทธศาสนา ทั้งนี้ ผู้ทำสื่อโทรทัศน์ต้องการให้ผู้ชมเกิดความตรึงใจ โดยสร้างเนื้อหา 2 ส่วนคือ 1) เนื้อหา เชิงพึงพอใจ ปรากฏเป็นพระเอก-นางเอก และการต่อสู้กันระหว่างฝ่ายธรรมและอธรรม และ 2) เนื้อหาเชิง ลี้ลับ ซึ่งบริบทและนัยของสัมภเวสีที่ถูกคิดสร้างเพื่อเพิ่มจำนวนของผู้ชมในลักษณะที่ 2 คือ ความตื่นเต้น ลี้ลับโดยปราศจากการตรวจสอบจากแหล่ง ข้อมูลดั้งเดิมที่ถูกต้อง อาจเป็นอันตรายและนำไปสู่การทำลาย สารัตถะแท้จริงได้ This academic paper aims at criticizing meaning and context of Sambhavesi which has a discrepancy meaning from original term of Buddhism used by Medias. Reinterpretation the term ‘sambhavesi’ causing the discrepancy of original term happens because of modifying contents of term with recent social contexts and recognized meaning of term users. They did not define exact term before but intentionally interpreted by themselve then bring such meaning to public. Not only wrong interpretation but also misunderstanding and wrong views occur without re-correcting. This happens because of the lack of misunderstanding the authentic teaching and purpose of Buddhism. And other reason is that discrepancy is caused by self-attachment used by theistic religion as well as advertisement propaganda of enforced consumption. The commercial approaches seek mindless audiences and mislead to cling self-attachment which is root of wrong views in the sense of Buddhism. In other hand, there found the reference to original teaching of Buddha using same term but in different contexts which later causing mistakes from true aim of Buddhism. Various television organizers always lead emotion of audiences through impressive contents; 1) impressive contents e.g. heroic stories and fighting between the righteousness and demons and 2) horrific and exitement contents. Context and meaning of Sambhavesi appear in second content, horrific and excitement for commercial interest and increasing audience amounts. Without recheck from original source of Buddhism or experts, it may cause or even dismiss true essence of original purpose.en_US
dc.publisherวารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจรen_US
dc.relation.ispartofseriesปีที่ 5 ฉบับที่ 1;-
dc.subjectสัมภเวสีen_US
dc.subjectบริบทen_US
dc.subjectมิจฉาทิฏฐิen_US
dc.subjectSambhavesien_US
dc.subjectcontexten_US
dc.subjectwrong viewsen_US
dc.titleสัมภเวสี : บริบทและนัยของภาษาบาลี ในสังคมปัจจุบันที่เปลี่ยนไปen_US
dc.title.alternativeSambhavesi: Its Context and Meaning of Pali Term in Changing Societyen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.